15 ก.พ. 2560

จิตวิทยา






จิตวิทยา (อังกฤษpsychologyคือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับจิตใจ (กระบวนการของจิต) ,กระบวนความคิดและพฤติกรรม ของมนุษย์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื้อหาที่นักจิตวิทยาศึกษาเช่น การรับรู้ (กระบวนการรับข้อมูลของมนุษย์) , อารมณ์บุคลิกภาพพฤติกรรมและรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล จิตวิทยายังมีความหมายรวมไปถึงการประยุกต์ใช้ความรู้กับกิจกรรมในด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน (เช่นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในครอบครัว,ระบบการศึกษาการจ้างงานเป็นต้น) และยังรวมถึงการใช้ความรู้ทางจิตวิทยาสำหรับการรักษาปัญหาสุขภาพจิต นักจิตวิทยามีความพยายามที่จะศึกษาทำความเข้าใจถึงหน้าที่หรือจุดประสงค์ต่าง ๆ ของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากตัวบุคคลและพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสังคม ขณะเดียวกันก็ทำการศึกษาขั้นตอนของระบบประสาทซึ่งมีผลต่อการควบคุมและแสดงออกของพฤติกรรม
จิตวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษาค้นคว้าเพื่อนำข้อมูลความรู้มาเสนอ อธิบาย และเพื่อควบคุมและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ จิตวิทยามุ่งศึกษาด้านความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการของร่างกายกับจิตใจ ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นระเบียบแบบแผน เพราะร่างกายและจิตใจมักมีการแสดงออกร่วมกัน อีกทั้งยังแสดงออกในแนวทางที่สามารถทำนายได้

    จิตวิทยาสําหรับครู  เปนศาสตรที่ศึกษาเพื่อใหผูสอนมีความรูความเขาใจความแตกตางและความตองการของผูเรียน  ในอันที่จะสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเรียนไปสูแนวทางอันพึงประสงคได  โดยผูสอนควรมีความรูความเขาใจ  ดังนี้

ความพรอมของผูเรียน 

   1.  ความพรอมทางดานรางกาย  ซึ่งหมายถึงความพรอมอันเกิดจากความเปนปกติทางรางกาย เชน ไมอดนอน ไมหิวโหย ไมเจ็บปวย ไมรอนหรือหนาวจนเกินไป เปนตน
   2. ความพรอมทางดานจิตใจและดานอารมณ เรื่องนี้ครู อาจารยมีความเกี่ยวของมากขึ้น แตอีกสวนหนึ่งก็เปนความรับผิดชอบของนิสิตนักศึกษาอยูเหมือนเดิม  สวนที่เกิดมากจากนิสิตนักศึกษาเอง

  3. ความพรอมทางดานสติปญญา หมายถึงการมีพื้นฐานทางวิชาการเพียงพอที่จะเรียนรูหรือรับรูสิ่งใหม ๆ ทางวิชาการ

หลักการสําคัญของการเรียนรู
   1.ผูเรียนควรจะมีสวนรวมในการเรียนรูอยางจริงจัง (Active Participation)
   2.ผูเรียนควรจะไดเรียนรูทีละขั้นทีละตอนจากงายไปสูยากและจากไมซับซอนไปสูรูปที่ซับซอน (Gradual approximation)
   3.ใหนักเรียนไดรับขอมูลยอนกลับที่เหมาะสมและไมเนิ่นนานจนเกินไป  (Immediate feedback)
   4. การเสริมแรงหรือใหกําลังใจที่เหมาะสม (Appropriate Reinforcement)



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น